ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

หลวงประดิษฐ์มนูธรรม

บทบาท-ผลงาน
27
มิถุนายน
2565
ในประกาศคณะราษฎร ลงวันที่ 24 มิถุนายน พุทธศักราช 2475 มีหลัก 6 ประการ ที่คณะราษฎรวางไว้ให้เป็นหัวใจของการดำเนินนโยบายภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองเพื่อบำรุงชีวิตของราษฎรให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งหลักข้อ 6. คือ “จะต้องให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร”
บทบาท-ผลงาน
26
พฤษภาคม
2565
ในบทความนี้ ผู้เขียนนำเสนอในเรื่องของ "การประเมินบทบาทที่ปรึกษาต่างชาติ" ว่าเป็นอย่างไร ส่งผลแค่ไหนต่อความสำเร็จในการเจรจาสนธิสัญญาที่ไม่เป็นธรรมของรัฐบาลภายใต้ระบอบเดิม ซึ่งจากงานศึกษาของนักวิชาการที่ผู้เขียนหยิบยกมาพิจารณานั้นได้เสนอไว้ว่า "ที่ปรึกษาชาวต่างชาติหลายคนมิได้แสดงให้เห็นความสามารถเท่าที่ควร"
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
พฤษภาคม
2565
'ศิริ สันตะบุตร' ผู้ว่าราชการคนสุดท้ายที่มาจากการแต่งตั้ง ดำเนินชีวิตอยู่บนสายงานราชการด้วยการเป็นนักปกครองที่ซื่อสัตย์สุจริต ดังคำกล่าวของ คุณหญิงนันทกา สุประภาตะนันทน์ ปลัดกรุงเทพมหานคร ณ ขณะนั้นว่า “ท่านเป็นคนอ่อนโยน…เป็นคนตรงเป็นไม้บรรทัด”
ศิลปะ-วัฒนธรรม
17
พฤษภาคม
2565
  ในวาระ 122 ปีชาตกาลของศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ยังคงมีเรื่องราวสืบเนื่องจากคุณูปการให้รำลึกถึงท่าน อาทิเช่น ถนนประดิษฐ์มนูธรรม ย่านลาดพร้าว และถนนปรีดี พนมยงค์ ย่านสุขุมวิท ที่จะเล่าถึงในบทความชิ้นนี้[1]
บทบาท-ผลงาน
14
พฤษภาคม
2565
สมัยที่ พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐบาลคณะราษฎรได้มีนโยบายส่งเสริมการทำนาโดยจัดให้มีการประกวดพันธุ์ข้าว ซึ่งการประกวดครั้งสำคัญนั้น เกิดขึ้นที่อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี เมื่อปลายเดือนธันวาคม พ.ศ. 2477 ท่านนายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรีและสมาชิกคณะราษฎรบางส่วนยังเดินทางไปมอบรางวัลแก่ผู้ชนะการประกวด อีกทั้งร่วมเกี่ยวข้าวจากแปลงนาของเกษตรกรด้วยตนเอง
แนวคิด-ปรัชญา
29
เมษายน
2565
สาเหตุประการสำคัญของการอภิวัตน์สยาม คือ ความต้องการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจให้กับราษฎร และปัญหาหนึ่งที่สำคัญมาก คือ ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจระหว่างชนชั้นปกครองกับราษฎรทั่วไป ‘การแยกทรัพย์สินส่วนพระองค์’ กับ ‘การแยกทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์’ ออกจากกันถือว่ารากฐานสำคัญของความเป็นรัฐสมัยใหม่ในเวลานั้น
บทบาท-ผลงาน
26
เมษายน
2565
จากปัญหาหลักของชาวนาในสยามที่ปรีดีพบ คือ ไม่ได้รับความช่วยเหลือและดูแลโดยหน่วยงานของรัฐ ไม่ว่าจากทั้งส่วนกลาง หรือส่วนท้องถิ่น อาจเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้ปรีดี สนใจเรื่องบทบาทและหน้าที่ตำรวจชาวนาของฝรั่งเศส ส่งผลเชื่อมโยงแนวคิดมาจนถึงการอภิวัฒน์สยามเพื่อความสุขสมบูรณ์ของราษฎร ตามปฏิญญาที่คณะราษฎรได้ประกาศไว้
เกร็ดประวัติศาสตร์
24
เมษายน
2565
'อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ' สืบค้นข้อมูลพบโคลงบทหนึ่งที่เคยอยู่บนหน้าหนังสือพิมพ์ ที่มีเนื้อหาพาดพิงถึง 'หลวงประดิษฐ์มนูธรรม' หรือ 'นายปรีดี พนมยงค์'
บทบาท-ผลงาน
19
เมษายน
2565
สำหรับตอนที่ 2 นั้น ผู้เขียนได้นำเสนอถึงช่วงเวลาภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ที่ได้มีการนำเสนอ "ร่างประมวลรัษฎากรฉบับแรกของสยามประเทศ" ในที่ประชุมสภานั้น 'หลวงประดิษฐ์มนูธรรม' ได้มอบหมายให้ 'ดิเรก ชัยนาม' เป็นผู้อ่านหลักการและเหตุผลของร่างพระราชบัญญัติฯ แห่งประมวลรัษฎากร จำนวน 16 ข้อ
บทบาท-ผลงาน
13
เมษายน
2565
'เขมภัทร ทฤษฎิคุณ' นำเสนอเรื่องราวเกร็ดประวัติศาสตร์ที่มาของ "วันขึ้นปีใหม่" ในอดีต ไม่ว่าจะเป็น 1 เมษายน 13 เมษายน จนถึงกาลปรับเปลี่ยนในปัจจุบันเป็น วันที่ 1 มกราคม โดยประเด็นสำคัญที่ผู้เขียนนำเสนอนั้น วันที่ 1 เมษายน นอกจากจะเป็นวันปีใหม่แล้ว ยังถูกกำหนดให้เป็น "วันเริ่มต้นปีงบประมาณ" อีกด้วย
Subscribe to หลวงประดิษฐ์มนูธรรม