ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

PRIDI Talks

แนวคิด-ปรัชญา
18
ธันวาคม
2566
‘รศ.ดร.มุนินทร์ พงศาปาน’ กล่าวถึง เหตุที่รัฐธรรมนูญปี 2560 จึงสมควรเป็นโมฆะ โดยกล่าวถึง ลักษณะที่แปลกประหลาดของรัฐธรรมนูญ 2560 และมุมมองของผู้ปกครองที่มีต่อประชาชนโดยมีรัฐธรรมนูญเป็นเครื่องมือ
แนวคิด-ปรัชญา
17
ธันวาคม
2566
'รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ' กล่าวเปิดเสวนาด้วยคำถามสำคัญที่ว่า ทำไมต้องมีรัฐธรรมนูญของประชาชน? ก่อนจะกล่าวถึงปัญหา 3 ประการจากรัฐธรรมนูญปี 2560 และความสำคัญของการร่างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนใหม่
13
ธันวาคม
2566
วันที่ 10 ธันวาคม 2566 ที่ผ่านมา เนื่องในวาระวันรัฐธรรมนูญไทย “สถาบันปรีดี พนมยงค์” ร่วมกับ “วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์” จัดงานเสวนาวิชาการ PRIDI Talks #23 x PBIC : รื้อ ร่าง สร้าง รัฐธรรมนูญใหม่เพื่อประชาชน ณ หอประชุมศรีบูรพา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
30
พฤศจิกายน
2566
PRIDI Talks #23 x PBIC  รื้อ ร่าง สร้าง รัฐธรรมนูญฉบับใหม่เพื่อประชาชน วันอาทิตย์ที่ 10 ธันวาคม 2566 เวลา 14:00 - 17:00 น. ณ หอประชุมศรีบูรพา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์  
แนวคิด-ปรัชญา
30
สิงหาคม
2566
ข้อเสนอ ข้อสังเกต และบทบาทอาเซียนในการเสริมสร้างสันติภาพในเมียนมา รวมไปถึงบทบาทของรัฐบาลไทย จากคำถามของผู้ฟังและผู้รับชมการถ่ายทอดสด และตอบโดยวิทยากรร่วมเสวนา
แนวคิด-ปรัชญา
28
สิงหาคม
2566
อาเซียนยังไม่ได้สิ้นไรไม้ตอก อาเซียนยังคงมีแต้มต่ออย่างที่เคยใช้ในกรณีของความขัดแย้งในประเทศกัมพูชา เรื่องสมาชิกภาพในการขู่ เช่นเดียวกัน สามารถนำเรื่องแต้มต่อนี้ในการขับพม่าออกจากสมาชิกภาพอาเซียนนี้จากการประเทศพม่าไม่รักษาคำสัญญาที่ให้ไว้กับอาเซียนในหลายๆ กรณีที่เกิดขึ้น
แนวคิด-ปรัชญา
27
สิงหาคม
2566
ความสัมพันธ์ระหว่างพม่าและอาเซียนมีนัยของความเปลี่ยนแปลงในประเทศพม่า และเป็นเหตุให้อาเซียนจำเป็นต้องปรับตัวพอสมควรตลอดมา โดยเฉพาะในหลักการเรื่อง “การไม่แทรกแซงกิจการภายในของประเทศสมาชิก” และด้วยภูมิรัฐศาสตร์สำคัญของพม่า ยังคงให้รัฐบาลเผด็จการทหารสามารถรักษาสถานภาพของตนได้
แนวคิด-ปรัชญา
27
สิงหาคม
2566
บทบาทของผู้หญิงสะท้อนให้เห็นถึงปัญหาความไม่เท่าเทียมและเสมอภาคกัน ไม่ใช่แค่เพียงแต่ปัญหาเรื่องประชาธิปไตยเท่านั้น หากแต่ยังรวมไปถึงปัญหาเรื่องความไม่เท่าเทียมทางเพศ การเลือกปฏิบัติ ตลอดจนการละเมิดสิทธิมนุษยชนขั้นร้ายแรง
แนวคิด-ปรัชญา
26
สิงหาคม
2566
สถานการณ์ในพม่า ณ ปัจจุบันจึงกลายเป็นเสมือนศึกสามก๊ก ระหว่างรัฐบาลเผด็จการทหารของมิน อ่อง หล่าย กับฝ่ายประชาธิปไตยของรัฐบาล NUG ที่ต่อต้านรัฐบาลเผด็จการทหาร รวมไปถึงกลุ่มชาติพันธ์ุที่ยังไม่สามารถสรุปท่าทีได้อย่างชัดเจน ทั้งสามฝ่ายนี้ ต่างก็มีทัศนะต่อความหมายของการสร้างสันติภาพที่ต่างกัน
แนวคิด-ปรัชญา
25
สิงหาคม
2566
ข้อเสนอที่สำคัญบางประการต่อบทบาทของรัฐบาลไทยที่มีต่อสถานการณ์ฉุกเฉินของประเทศเมียนมาในปัจจุบัน ข้อเสนอแรกคือ การเปลี่ยนกระบวนทัศนทางด้านการทูต ข้อเสนอที่สองคือ การเตรียมความพร้อมในการเข้าไปช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม และเสนอให้รัฐบาลไทยเป็นผู้นำการจัดการเชิญประชุมผู้แทนประเทศชายแดนที่เกี่ยวข้อง
Subscribe to PRIDI Talks