ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

PRIDI Talks

แนวคิด-ปรัชญา
21
มกราคม
2567
ทนายแจม ศศินันท์ ธรรมนิฐินันท์ จากบทบาททนายความความเพื่อสิทธิมนุษยชน นักการเมือง และความเป็นแม่ กับการต่อสู้เพื่อให้ได้มาซึ่งสิทธิของผู้หญิงและรัฐสวัสดิการของแม่และเด็กอย่างถ้วนหน้า
แนวคิด-ปรัชญา
20
มกราคม
2567
'ฐปณีย์ เอียดศรีไชย' กล่าวถึงประสบการณ์ในการทำงานด้านสื่อมวลชนในฐานะผู้หญิง กับความท้าทายในการทำงานด้านสิทธิมนุษยชนที่นับว่าไม่ใช่เรื่องง่าย ซึ่งการที่จะก้าวข้ามความกลัวได้ จะต้องมีความกล้าหาญในการนำเสนอประเด็นที่สนใจจนนำไปสู่การสร้างพื้นที่นำเสนอประเด็นเป็นของตัวเอง
แนวคิด-ปรัชญา
19
มกราคม
2567
'พัทธ์ธีรา นาคอุไรรัตน์' เปิดประเด็นการเสวนาด้วยการกล่าวถึงท่านผู้หญิงพูนศุข ที่เป็นต้นแบบสำคัญที่นักสันติภาพที่สำคัญคนหนึ่งในสังคมไทย อีกทั้งบทบาทและอุปสรรคของผู้หญิง ที่ลุกขึ้นมาเป็นแกนนำในการผลักดันประเด็นต่างๆ รวมไปถึงความเจ็บปวดของคนกลุ่มน้อยที่ในสังคมรับฟังแต่คนเสียงดังๆ
15
มกราคม
2567
“สถาบันปรีดี พนมยงค์” จัดงานเสวนา PRIDI Talks #24: 112 ปี ชาตกาล ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ “การต่อสู้ของผู้หญิงเพื่อสิทธิและสันติภาพ” ณ สมาคมธรรมศาสตร์ฯ ซอยงามดูพลี
4
มกราคม
2567
PRIDI Talks #24 112 ปี ชาตกาล ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ “การต่อสู้ของผู้หญิงเพื่อสิทธิและสันติภาพ” วันอาทิตย์ที่ 14 มกราคม 2567 เวลา 14.00 - 17.00 น. ณ สมาคมธรรมศาสตร์ฯ ซอยงามดูพลี กรุงเทพฯ   
แนวคิด-ปรัชญา
24
ธันวาคม
2566
ช่วงสุดท้ายของงานเสวนา PRIDI Talks #23 x PBIC "รื้อ ร่าง สร้าง รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ยิ่งชีพ อัชฌานนท์ ได้ถามคำถามสำคัญแก่ผู้ร่วมเสวนาทุกท่านถึงความคาดหวังที่มีต่อข้อสรุปของคณะกรรมการฯ ประกาศจะแถลงแนวทางประชามติสู่รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ในวันที่ 25 ธันวาคมนี้
แนวคิด-ปรัชญา
23
ธันวาคม
2566
‘นายชัยธวัช ตุลาธน’ กล่าวติดตามข้อสรุปที่นายนิกรในฐานะโฆษกของคณะกรรมการที่รัฐบาลแต่งตั้งนำเสนอและการแจ้งถึงคณะกรรมการจะมีการประชุมในวันที่ 25 ธันวาคม รวมถึงกรณีการไต่สวนคดีการปกครองของพรรคก้าวไกลที่ถูกฟ้องครั้งแรก ซึ่งสะท้อนประเด็นปัญหาการเมืองของไทย
แนวคิด-ปรัชญา
22
ธันวาคม
2566
‘นิกร จำนง’ ได้กล่าวประเด็นถึงอีกก้าวสำคัญของการร่างรัฐธรรมนูญที่เปรียบเสมือนระบบปฏิบัติการ ที่จะต้องขับเคลื่อนประเทศชาติ ปรับโครงสร้างของชาติให้มั่นคง อีกทั้งยังทำหน้าที่ปรับแก้รัฐธรรมนูญอย่างต่อเนื่อง ในการประเทศชาติต้องมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
แนวคิด-ปรัชญา
21
ธันวาคม
2566
‘รศ.ดร.นันทนา นันทวโรภาส’ เปิดประเด็นหลักการสำคัญและข้อเสนอในการเลือกตั้งสภาร่างรัฐธรรมนูญ ที่มีการเชื่อมโยงกับประชาชน ปราศจากการครอบงำของอำนาจที่ไม่ชอบธรรม ซึ่งเป็นการได้มาของรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนอย่างแท้จริง
แนวคิด-ปรัชญา
19
ธันวาคม
2566
ผศ.ดร.พรสันต์ เลี้ยงบุญเลิศชัย’ เปิดประเด็นถึง รัฐธรรมนูญฉบับ ปี 2560 พบปัญหาอยู่เยอะพอสมควร เริ่มต้นมีการใช้เทคนิคในการร่างที่ซับซ้อน เป็นผลพวงของการผนวกรวมกับรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว ปี 2557
Subscribe to PRIDI Talks