ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

แนวคิด-ปรัชญา

แนวคิดและปรัชญาทางการเมืองของปรีดี

แนวคิด-ปรัชญา
7
ตุลาคม
2566
การต่อต้านเผด็จการนั้นไม่ใช่เพียงการต่อสู้ทางกายภาพเท่านั้น หากแต่ยังเป็นการต่อสู้ทางความคิดและจิตวิญญาณด้วย ฝ่ายต่อต้านจึงต้องรู้จักฝ่ายเผด็จการอย่างถ่องแท้ทั้งในด้านดีและด้านร้าย
แนวคิด-ปรัชญา
5
ตุลาคม
2566
สมุฏฐาน เพื่ออธิบายถึงเหตุหรือที่มาของสรรพสิ่ง ความจริงที่มนุษย์รับรู้ ซึ่งประเด็นปัญหาสำคัญทางอภิปรัชญาว่าด้วยความจริงและการรับรู้ของมนุษย์ ความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดทั้งสองนี้ ข้อโต้แย้ง และข้อเข้าใจผิด รวมไปถึงแนวคิดทั้งสองนี้ที่สัมพันธ์อย่างไรเปรียบกับร่างกายมนุษย์
แนวคิด-ปรัชญา
4
ตุลาคม
2566
วิเคราะห์และวิพากษ์ให้เห็นถึงปัญหาของการจัดทำงบฯ สส. นี้ นับตั้งแต่แนวคิดที่ขัดกับหลักการงบประมาณแผ่นดินอย่างไร ผลเสีย ไปจนถึงเสนอแนวทางแก้ไขโดยมิจำเป็นต้องพึ่งพางบประมาณส่วนนี้ในการจัดสรรให้กับท้องถิ่น
แนวคิด-ปรัชญา
3
ตุลาคม
2566
คำอธิบาย ความหมาย รวมไปถึงบริบทของคำว่าประชาธิปไตยที่ปรากฏในสังคมไทย ทั้ง “ประชาธิปไตยส่วนขยายต่างๆ ” รวมไปถึง “ประชาธิปไตยสมบูรณ์” ที่นายปรีดี พนมยงค์ได้เสนอไว้เป็นอุดมการณ์และแนวทางที่ท่านยึดถือยึดมั่นในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
แนวคิด-ปรัชญา
2
ตุลาคม
2566
“ว่าด้วยคดีปกครอง” ถึงกรณีหรือเหตุที่ประชาชนเมื่อได้รับกระทบจากการปฏิบัติหรือดุลยพินิจที่ผิดพลาดของเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง ประชาชนจะสามารถมีสิทธิฟ้องร้องหรือร้องทุกข์โดยวิธี การฟ้องต่อศาลยุติธรรม การอุทธรณ์คำสั่ง หรืออื่นๆ
แนวคิด-ปรัชญา
30
กันยายน
2566
เรื่องราวและบรรยากาศภายในนิทรรศการ “กลับสู่วันวาน...กลับมากินข้าวด้วยกันนะ” ที่ประกอบไปด้วยมื้ออาหารจานโปรดของผู้ถูกบังคับสูญหาย และเนื้อหาภายในงานเสวนา “เมื่อแตกสลาย… จะกลับคืนสู่สภาพเดิมได้หรือ?” เนื่องในวันผู้สูญหายสากลที่ 30 สิงหาคม 2566 ที่ผ่านมา
แนวคิด-ปรัชญา
28
กันยายน
2566
“รัฏฐาธิปัตย์” ที่มาจากการรัฐประหารโดยแยกช่วงเวลาออกเป็นสองช่วงคือ ช่วงเวลาที่คณะรัฐประหารใช้อำนาจ รัฏฐาธิปัตย์โดยตรง และ ช่วงเวลาที่ใช้อำนาจรัฏฐาธิปัตย์ในฐานะขององค์กรหรือสถาบันหนึ่งตามรัฐธรรมนูญชั่วคราวของตนเอง
แนวคิด-ปรัชญา
27
กันยายน
2566
อาจารย์ปรีดี พนมยงค์ได้ชี้ให้เห็นความเคลื่อนไหวและการเปลี่ยนแปลงสังคมตามปัจจัยสำคัญตามความต้องการใหม่ที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลง
แนวคิด-ปรัชญา
26
กันยายน
2566
“การคลังของประเทศ” ว่าด้วยเรื่องลักษณะ ขอบเขต และกิจของการคลังในประเทศที่พึงดูแลเป็นหลักคือ งบประมาณ รายได้ และรายจ่ายของประเทศ การกำหนดรายได้และรายจ่ายของประเทศในรอบหนึ่งปี ตามพรบ. งบประมาณ พ.ศ. 2456 ที่แต่ละกระทรวงต้องจัดเตรียมตามข้อบังคับของกระทรวงการคลังเพื่อเสนอขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต และปฏิบัติตามพระบรมราชานุญาต
แนวคิด-ปรัชญา
23
กันยายน
2566
บทความนี้ อาจารย์ษัษฐรัมย์ นำเสนอถึงเหตุผลสำคัญเบื้องต้นว่าทำไมบรรดาชนชั้นนำในสังคมจึงปฏิเสธสวัสดิการ “บำนาญถ้วนหน้า” อันเกี่ยวโยงกับเหตุผลเรื่องความกังวลในค่าใช้จ่าย ผลทางเศรษฐกิจระยะสั้น ความมั่นคงทางสังคม หรืออื่นๆ
Subscribe to แนวคิด-ปรัชญา