ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

แนวคิด-ปรัชญา
7
มิถุนายน
2564
การสิ้นสุดลงของ “ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์” ในสยามจึงเป็นไปเพื่อการก่อเกิดใหม่ของ “ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ” หรือ “ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข”
แนวคิด-ปรัชญา
1
มิถุนายน
2564
จุดเริ่มต้นแห่งการก่อเกิดประชาธิปไตยนั้น ได้เริ่มก่อตัวขึ้นตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 ถูกส่งต่อมาเรื่อยๆ จนถึงรัชสมัยของรัชกาลที่ 7 โดยมีทั้งชนชั้นสูงอย่างเจ้าขุนมูลนาย และ ราษฎรไทย
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
เมษายน
2564
1 เมษายน 2476 เป็นวันขึ้นปีใหม่ไทยในยุคสมัยนั้น แต่ ณ ห้วงเวลานั้น ได้เกิดการรัฐประหารครั้งแรกในภายใต้ระบอบใหม่ นำโดยนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศไทย คือ พระยามโนปกรณ์นิติธาดา ซึ่งเป็นการรัฐประหารรัฐบาลตัวเอง ที่เรียกกันว่า "รัฐประหารโดยพระราชกฤษฎีกา"
เกร็ดประวัติศาสตร์
14
กุมภาพันธ์
2564
เนื่องในวาระเทศกาลวันแห่งความรักของเดือนกุมภาพันธ์ ถ้าจะทดลองเอ่ยถึงลักษณะการเดินทางไปทัศนาจรด้วยกันของนายปรีดีและท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์อันเข้าเค้า ‘ฮันนีมูน’แล้ว ก็คงน่าสนใจไม่เบา ประกอบกับมีเกร็ดข้อมูลที่สามารถจะแจกแจงได้พอสมควร
เกร็ดประวัติศาสตร์
21
มกราคม
2564
ภารกิจแรก ๆ ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ 'ปรีดี พนมยงค์' ซึ่งไปตรวจเยี่ยมดินแดนอีสานบริเวณชายฝั่งแม่น้ำโขง ทั้งยังข้ามฟากไปเยือนฝั่งหัวเมืองลาวที่อยู่ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศส อันเป็นภารกิจสำคัญซึ่งนำมาสู่ความเข้าใจสภาพการเมือง เศรษฐกิจ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของราษฎร เพื่อกำหนดนโยบายบริหารประเทศให้สัมฤทธิ์ผลก่อนหน้าสงครามโลกครั้งที่ 2 อุบัติขึ้น
15
ธันวาคม
2563
ผมเองอยากเสนอว่าให้เรียกยุคสมัย 2476 ถึง 2490 ว่าเป็น 'Regency Era' หรือยุคสมัยแห่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ 15 ปี หลาย ๆ คนอาจจะนึกถึงเรื่องราวต่าง ๆ แต่สำหรับผมแล้วก็จะมีตัวละครที่โดดเด่น ก็คือ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์หลาย ๆ ท่าน
บทบาท-ผลงาน
14
ธันวาคม
2563
ปฐมรัฐธรรมนูญฉบับนี้นั้นเป็นรัฐธรรมนูญที่อาจารย์ปรีดีได้ร่างขึ้นด้วยตนเอง รัฐธรรมนูญได้บรรจุไว้ซึ่งความคิดและความใฝ่ฝันของนักกฎหมายหนุ่มคนหนึ่งในขณะนั้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
ธันวาคม
2563
ความฝันถึงการมีรัฐธรรมนูญเป็นหลักในการปกครองประเทศปรากฏขึ้นก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองในวันที่ 24 มิถุนายน 2475 ราวกึ่งศตวรรษ ดังมีคำกราบบังคมทูลของเจ้านายและขุนนางถึงพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวใน ร.ศ. 103 เป็นตัวอย่าง
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
ตุลาคม
2563
ผศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ เสนอบทเรียนจากการปฏิรูปประเทศให้ทันสมัยในสมัยรัชกาลที่ 5 จนถึงการอภิวัฒน์ประชาธิปไตยโดยคณะราษฎร ว่าสามารถนำเป็นแนวคิดสำหรับประเทศในปัจจุบันและอนาคตได้ 8 ข้อ
แนวคิด-ปรัชญา
13
ตุลาคม
2563
เมื่อ 20 ปีก่อน ในช่วง 100 ปีชาตกาล ปรีดี พนมยงค์ (พ.ศ. 2543) ศาสตราจารย์ ดร.เกษียร เตชะพีระ อ่านบทความ "จงพิทักษ์เจตนารมณ์ประชาธิปไตยสมบูรณ์ของวีรชน 14 ตุลาคม" ของปรีดี พนมยงค์ แล้วตั้งข้อสังเกตที่น่าสนใจไว้หลายประการ
Subscribe to พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว