ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

เกร็ดประวัติศาสตร์
11
ธันวาคม
2564
รัฐธรรมนูญหลายประเทศ มักใช้พื้นที่ของ “คำปรารภ” อันเป็นข้อความที่ปรากฏเป็นส่วนแรกของรัฐธรรมนูญ ในการบอกเล่าถึงอุดมการณ์ร่วมกันของชาติ อุดมการณ์ของประชาชน เช่น รัฐธรรมนูญฝรั่งเศส ที่ระบุถึงหลักเสรีภาพ เสมอภาค ภราดรภาพ อันเป็นหลักการสำคัญของฝรั่งเศส ขณะที่คำปรารภของรัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกา กล่าวถึงการสถาปนารัฐธรรมนูญโดยประชาชน ด้านคำปรารภของ รัฐธรรมนูญเกาหลีใต้ บอกเล่าถึงความภาคภูมิใจของชาวเกาหลีในประวัติศาสตร์ของชาติ อิสรภาพจากการปกครองญี่ปุ่น ภารกิจในการปฏิรูปประชาธิปไตย และมีความมุ่งมั่นที่จะรวมชาติให้เป็นหนึ่งเดียว เสริมสร้
แนวคิด-ปรัชญา
6
ธันวาคม
2564
บริบทของการพัฒนากฎหมายแรงงานในประเทศไทย เริ่มต้นก่อรูปอย่างเป็นรูปเป็นร่างขึ้นในช่วงหลังปี 2475 เนื่องจากในเวลานั้นอาชีพของคนส่วนใหญ่เป็นข้าราชการและเกษตรกร อาชีพแรงงานยังเป็นอาชีพของคนส่วนน้อยในประเทศ[1] และกลุ่มผู้ใช้แรงงานโดยส่วนมากเป็นคนต่างด้าวมากกว่า 
แนวคิด-ปรัชญา
18
พฤศจิกายน
2564
ฉะนั้นข้าพเจ้าในฐานะราษฎรคนหนึ่ง และในฐานะรัฐบุรุษอาวุโสจึงขอเสนอความเห็นมายังท่านและรัฐบาลดังต่อไปนี้
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
พฤศจิกายน
2564
คุณผู้อ่านที่เคยศึกษาเรื่องราวของ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ หรือ ‘หลวงประดิษฐ์มนูธรรม’ อาจจะนึกสงสัยครามครัน เมื่อเห็นการนำเสนอถึงการปฏิบัติหน้าที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของนายปรีดี
เกร็ดประวัติศาสตร์
21
กรกฎาคม
2564
หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองเพียง 3 วัน คณะราษฎรก็นำ “พระราชบัญญัติธรรมนูญปกครองแผ่นดินสยาม” ขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายแด่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 เพื่อให้พระองค์ทรงลงพระปรมาภิไธยและประกาศใช้เป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ
บทบาท-ผลงาน
10
กรกฎาคม
2564
“กฎหมายมหาชน” เป็นนวัตกรรมทางกฎหมายที่ประเทศไทยนำเข้าจากต่างประเทศ ในฐานะของกลุ่มสาขาวิชากฎหมายที่มีส่วนในการกำหนดขอบเขตการใช้อำนาจรัฐมิให้ละเมิดต่อสิทธิและเสรีภาพของประชาชน
เกร็ดประวัติศาสตร์
24
มิถุนายน
2564
เวลาย่ำรุ่งของวันศุกร์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 “คณะราษฎร” ได้ร่วมกันทำการยึดอำนาจการปกครองประเทศ เพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตยโดยมีรัฐธรรมนูญใช้เป็นหลักในการปกครองประเทศ
เกร็ดประวัติศาสตร์
22
มิถุนายน
2564
ตัวอย่างรูปธรรม เช่น ในรัฐธรรมนูญ 2475 กำหนดให้ “พระบรมวงศานุวงศ์ตั้งแต่ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไปโดยกำเนิด หรือโดยแต่งตั้งก็ตาม ย่อมดำรงอยู่ในฐานะเหนือการเมือง” ด้วยเหตุดังกล่าวทำให้การใช้อำนาจใดๆ ขององค์พระมหากษัตริย์จะต้องมีผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
เกร็ดประวัติศาสตร์
19
มิถุนายน
2564
น้อยคนนักจะทราบเรื่องที่นายปรีดี พนมยงค์เองก็เป็นอีกบุคคลหนึ่งผู้วางแผนสำรองไว้ด้วยเช่นกัน นั่นคือ “แผนตลิ่งชัน”
เกร็ดประวัติศาสตร์
16
มิถุนายน
2564
แม้รัชกาลที่ 7 จะมีการรับสั่งให้ร่างรัฐธรรมนูญ ที่ยังคงมีเนื้อหาที่มุ่งไปสู่การเอื้ออำนวยให้เกิดความชอบธรรมแก่ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่แก้ไขใหม่เท่านั้น ในแง่นี้การมีรัฐธรรมนูญจึงไม่เท่ากับการมีประชาธิปไตยด้วย นี่จึงเป็นหนึ่งในบรรดาเหตุผลที่คณะราษฎรเลือกที่จะทำการอภิวัฒน์เพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองในวันที่ 24 มิถุนายน 2475
Subscribe to พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว