ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สงครามโลกครั้งที่ 2

24
สิงหาคม
2566
ประเทศไทยจำเป็นต้องแสดงบทบาท เป็นผู้สร้างสรรค์เพื่อความก้าวหน้าต่อการสร้างสันติธรรมประชาธิปไตยให้นานาประเทศสามารถยึดถือเป็นแบบอย่าง โดย ‘รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ’ ได้เสนอแบบอย่างที่ประเทศไทยสมควรกระทำทั้งสิ้น 8 ประการ
เกร็ดประวัติศาสตร์
16
สิงหาคม
2566
อาคารพิพิธภัณฑ์เสรีไทยอนุสรณ์ นับเป็นหนึ่งในอาคารที่มีความสำคัญกับสังคมไทยในฐานะสถานที่ซึ่งรวบรวมความทรงจำและบอกเล่าถึงความเป็นขบวนการเสรีไทยเพื่อการปลดปล่อยการยึดครองประเทศไทยของประเทศญี่ปุ่น และร่วมมือกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง
บทบาท-ผลงาน
13
สิงหาคม
2566
การหายสาบสูญของหะยีสุหลง อับดุลกอเดร์ โต๊ะมีนา พร้อมบุตรชาย และผู้ติดตามรวม 4 คน เมื่อ13 สิงหาคม 2497 เกิดขึ้นในช่วงของรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม ที่ใช้อำนาจปกครองแบบเผด็จการ โดยละเลยการรักษาเอกลักษณ์ของชาวมุสลิมผู้นับถือศาสนาอิสลาม ทั้งๆที่หะยีสุหลงมิใช่กบฎแบ่งแยกดินแดน
แนวคิด-ปรัชญา
10
สิงหาคม
2566
ความคิดเพียงว่า ขบวนการเสรีไทยเป็นขบวนการต่อสู้เพื่อปกป้องหรือรักษาเอกราช ได้บดบังสาระสำคัญที่ซ่อนอยู่บางประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุดมการณ์เพื่อสันติภาพ อธิปไตย และการฟื้นคืนประชาธิปไตย
บทบาท-ผลงาน
7
สิงหาคม
2566
การจัดตั้ง "องค์การต่อต้านญี่ปุ่น” ได้เกิดขึ้น โดยมีนายปรีดี พนมยงค์ เป็นหัวหน้า ร่วมดำเนินการกับมิตรสหายเพื่อร่วมมือกับทางฝ่ายสัมพันธมิตร (อังกฤษ สหรัฐ จีน ฯลฯ) และเพื่อให้ฝ่ายสัมพันธมิตรรับรองว่าประเทศไทยจะไม่ตกเป็นประเทศผู้แพ้สงคราม และการผ่อนหนักเป็นเบาสำหรับสถานการณ์ภายหลังสงคราม
แนวคิด-ปรัชญา
15
กรกฎาคม
2566
ความเป็นเลิศของ ‘สุภา ศิริมานนท์’ ไม่ได้ถูกจำกัดไว้เพียงในบทบาทของบรรณาธิการที่ผลักดันหนังสือที่ตนดูแลให้มีคุณภาพที่สุด หากแต่ รวมไปถึงวิถีชีวิตที่ดิ้นรนต่อสู้กับภัยความมืดบอดจากเผด็จการเพื่อให้ได้มาซึ่งอิสรภาพทางความคิดของทั้งคนวงการหนังสือพิมพ์และสังคมไทย
บทบาท-ผลงาน
14
กรกฎาคม
2566
‘สุวัฒน์ วรดิลก’ เจ้าของนามปากกา ‘รพีพร’ คือ หนึ่งในนักคิด นักเขียน และนักหนังสือพิมพ์คนสำคัญ ผู้อาศัยผลงานเขียนของตนเป็นสื่อถ่ายทอดอุดมการณ์ประชาธิปไตยในสังคมไทย ซึ่งนอกจาก ‘สุวัฒน์’ จะมีชื่อเสียงในด้านงานเขียนต่างๆ แล้ว บุคคลผู้นี้ยังมีความสนิทชิดเชื้อกับ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ ด้วย
ศิลปะ-วัฒนธรรม
12
กรกฎาคม
2566
“An Imperial Sake Cup and I” เป็นการแสดงในรูปแบบ Lecture Performance โดยมีอาจารย์ชาญวิทย์ เกษตรศิริ เป็น “ตัวเอก” ของการแสดง ด้วยการทำหน้าที่เล่าเรื่องถ่ายทอดประวัติชีวิตของตนที่สัมพันธ์กับประวัติศาสตร์บ้านเมือง ผ่านถ้วยสาเกซึ่งได้รับพระราชทานจากสมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ
ชีวิต-ครอบครัว
17
มิถุนายน
2566
ความผันผวนในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 คนไทยรวมถึงครอบครัวของปลาย ต่างก็ได้รับผลกระทบจากมหาสงครามนี้เช่นกัน จักรวรรดิญี่ปุ่นกระทำการรุกรานประเทศไทย ‘บิดา’ ของปลาย จึงได้ตั้ง “ขบวนการเสรีไทย” เพื่อต่อต้านยับยั้งการกระทำของจักรวรรดิญี่ปุ่น
เกร็ดประวัติศาสตร์
30
พฤษภาคม
2566
รำลึก 62 ปี การจากไปของครูครอง จันดาวงศ์ ลูกอีสานผู้รักชาติ รักประชาชน รักประชาธิปไตย โดยข้อเขียนของสัมผัส พึ่งประดิษฐ์ ผู้ได้ร่วมทุกข์ ร่วมสุขในยามยากลำบากพร้อมกับครูครอง จันดาวงศ์
Subscribe to สงครามโลกครั้งที่ 2