ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

พระยาพหลพลพยุหเสนา

เกร็ดประวัติศาสตร์
11
ธันวาคม
2564
รัฐธรรมนูญหลายประเทศ มักใช้พื้นที่ของ “คำปรารภ” อันเป็นข้อความที่ปรากฏเป็นส่วนแรกของรัฐธรรมนูญ ในการบอกเล่าถึงอุดมการณ์ร่วมกันของชาติ อุดมการณ์ของประชาชน เช่น รัฐธรรมนูญฝรั่งเศส ที่ระบุถึงหลักเสรีภาพ เสมอภาค ภราดรภาพ อันเป็นหลักการสำคัญของฝรั่งเศส ขณะที่คำปรารภของรัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกา กล่าวถึงการสถาปนารัฐธรรมนูญโดยประชาชน ด้านคำปรารภของ รัฐธรรมนูญเกาหลีใต้ บอกเล่าถึงความภาคภูมิใจของชาวเกาหลีในประวัติศาสตร์ของชาติ อิสรภาพจากการปกครองญี่ปุ่น ภารกิจในการปฏิรูปประชาธิปไตย และมีความมุ่งมั่นที่จะรวมชาติให้เป็นหนึ่งเดียว เสริมสร้
แนวคิด-ปรัชญา
6
ธันวาคม
2564
บริบทของการพัฒนากฎหมายแรงงานในประเทศไทย เริ่มต้นก่อรูปอย่างเป็นรูปเป็นร่างขึ้นในช่วงหลังปี 2475 เนื่องจากในเวลานั้นอาชีพของคนส่วนใหญ่เป็นข้าราชการและเกษตรกร อาชีพแรงงานยังเป็นอาชีพของคนส่วนน้อยในประเทศ[1] และกลุ่มผู้ใช้แรงงานโดยส่วนมากเป็นคนต่างด้าวมากกว่า 
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
พฤศจิกายน
2564
คำให้การของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา ประธานผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
เกร็ดประวัติศาสตร์
2
พฤศจิกายน
2564
จดหมายของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึง นายปรีดี พนมยงค์, ใน, คำให้การต่อศาลอาชญากรสงคราม เอกสารสำคัญทางประวัติศาสตร์
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
พฤศจิกายน
2564
คุณผู้อ่านที่เคยศึกษาเรื่องราวของ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ หรือ ‘หลวงประดิษฐ์มนูธรรม’ อาจจะนึกสงสัยครามครัน เมื่อเห็นการนำเสนอถึงการปฏิบัติหน้าที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของนายปรีดี
เกร็ดประวัติศาสตร์
15
ตุลาคม
2564
อนุสาวรีย์คอนกรีตสูงประมาณ 4 เมตร ที่ตั้งอยู่บริเวณวงเวียนหลักสี่ หายไปอย่างไร้ร่องรอยเมื่อวันที่ 28 ธ.ค. 2561
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
ตุลาคม
2564
หลังจากที่ท่านปรีดีฯ ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๔๗๖ แล้ว แต่ยังไม่ทันที่จะได้รับความไว้วางใจจากสภาผู้แทนตามรัฐธรรมนูญ ก็ได้เกิดการขบถขึ้นภายในราชอาณาจักร เมื่อ ๑๑ ตุลาคม ปีเดียวกัน ขบถครั้งนี้มี พลเอกพระองค์เจ้าบวรเดชกฤษดากร เป็นหัวหน้า ใช้ชื่อคณะในการขบถครั้งนี้ว่า “คณะกู้บ้านเมือง” แต่ชาวบ้านเรียกกันทั่วๆ ไปว่า “ขบถบวรเดช”
บทบาท-ผลงาน
5
สิงหาคม
2564
เบื้องหลังการก่อตั้งขบวนการเสรีไทย: คำให้การของนายปรีดี พนมยงค์ ในฐานะพยาน พ.ท. พระสารสาสน์พลขันธ์ จำเลยคดีอาชญากรสงคราม
บทบาท-ผลงาน
4
สิงหาคม
2564
ในบันทึกของรู้ทชิ้นนี้ได้กล่าวถึง "นโยบายสันติภาพของรัฐบาล" ที่ท่านเป็นผู้เขียนขึ้นและรวบรวมไว้เป็นเอกสารทางการเล่มหนึ่งที่ชื่อว่า “LE SIAM PACIFISTE” (สยามสันติภาพ)
บทบาท-ผลงาน
30
กรกฎาคม
2564
ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ปัญหาสำคัญหนึ่งที่จำเป็นต้องได้รับการแก้ไขโดยเร็วคือปัญหาในด้านเอกราช เนื่องจากเอกราชที่ประเทศไทยมีอยู่นั้น ไม่ใช่เอกราชสมบูรณ์
Subscribe to พระยาพหลพลพยุหเสนา