ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

พระยาพหลพลพยุหเสนา

บทบาท-ผลงาน
25
เมษายน
2567
เนื้อหาช่วงสุดท้ายของบันทึกคำฟ้อง ปรีดี พนมยงค์ โต้แย้งข้อกล่าวหาบางประการของ พล.ท.ประยูร ภมรมนตรี โดยชี้ให้เห็นข้อขัดแย้งกับหลักฐานและเอกสารประวัติศาสตร์ พร้อมรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับหลวงเดชสหกรณ์
เกร็ดประวัติศาสตร์
31
มีนาคม
2567
กุหลาบ สายประดิษฐ์ ได้อธิบายมูลเหตุและแรงจูงใจในการปฏิวัติ พ.ศ. 2475 จากมุมมองของผู้ร่วมเหตุการณ์สำคัญในชุดบทความ "เบื้องหลังการปฏิวัติ" ซึ่งถือเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญ
เกร็ดประวัติศาสตร์
29
มีนาคม
2567
ความสัมพันธ์พระยาพหลฯกับพระปกเกล้าฯ เริ่มด้วยความร่วมมือแต่กลายเป็นขัดแย้ง เนื่องจากพระองค์ทรงมีความกังวลต่อระบอบประชาธิปไตย มีข้อสงสัยบ่งชี้ว่าทรงรู้เห็นกบฏบวรเดช ก่อนเสด็จออกประเทศและสละราชสมบัติ สะท้อนความตึงเครียดจากการเปลี่ยนผ่านการปกครอง
บทบาท-ผลงาน
14
กุมภาพันธ์
2567
หลังจากการปฏิวัติการปกครองพ.ศ. 2475 รัฐบาลคณะราษฎรได้ดำเนินงานทางเศรษฐกิจเพื่อแก้ปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำของประเทศ โดยพระยาพหลได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการก่อตั้งโรงงานอุตสาหกรรมน้ำตาล ในพื้นที่ของแหล่งปลูกอ้อยจำนวนมาก ณ จังหวัดลำปาง
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
พฤศจิกายน
2566
เอกสารสำคัญและเรื่องราวที่มิเคยกล่าวถึงของการเลือกตั้งทั่วไปครั้งแรกของสยามภายหลังการอภิวัฒน์ 2475 โดยชี้ให้เห็นถึงความขับเคี่ยวและขัดแย้งระหว่างนายปรีดี พนมยงค์และพระยามโนปกรณ์นิติธาดา รวมไปถึงบรรยากาศและเรื่องราวของประชาชนจากหนังสือพิมพ์ประชาชาติ
เกร็ดประวัติศาสตร์
21
ตุลาคม
2566
ดร.ตั้ว มองว่าวิทยาศาสตร์เป็นปัจจัยสำคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจที่จะเป็นรากฐานสร้างความมั่นคงถาวรให้กับประเทศชาติ ไม่ว่าจะในด้านกสิกรรม พานิชยกรรม อุตสาหกรรม รวมไปถึงในด้านการขนส่งที่ล้วนจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนและทำให้วิทยาศาสตร์กลายเป็นหัวใจสำคัญของรากฐานในการศึกษา
บทสัมภาษณ์
15
ตุลาคม
2566
การหายไปของอนุสาวรีย์ปราบกบฏและมรดกคณะราษฎรชิ้นอื่นๆ นั้น สะท้อนถึงนัยทางการเมืองของการรื้อถอนอดีต ความทรงจำชุดหนึ่งไม่เป็นที่ต้องการของภาครัฐหรือไม่ก็ไม่เป็นที่ต้องการของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
บทบาท-ผลงาน
29
กันยายน
2566
ภายหลังการอภิวัฒน์สยาม 2475 หนึ่งปีได้เกิดการรัฐประหารครั้งแรกเป็นเหตุให้นายปรีดี พนมยงค์ต้องลี้ภัยทางการเมืองเมื่อวันที่ 12 เมษายน 2476 โดยในปีเดียวกันนั้นวันที่ 29 กันยายน 2476 นายปรีดี พนมยงค์ก็ได้เดินทางหวนกลับสู่บ้านเกิดอีกครั้ง
บทบาท-ผลงาน
7
สิงหาคม
2566
การจัดตั้ง "องค์การต่อต้านญี่ปุ่น” ได้เกิดขึ้น โดยมีนายปรีดี พนมยงค์ เป็นหัวหน้า ร่วมดำเนินการกับมิตรสหายเพื่อร่วมมือกับทางฝ่ายสัมพันธมิตร (อังกฤษ สหรัฐ จีน ฯลฯ) และเพื่อให้ฝ่ายสัมพันธมิตรรับรองว่าประเทศไทยจะไม่ตกเป็นประเทศผู้แพ้สงคราม และการผ่อนหนักเป็นเบาสำหรับสถานการณ์ภายหลังสงคราม
6
สิงหาคม
2566
ค่ำวานนี้ (5 สิงหาคม 2566) มูลนิธิปรีดี พนมยงค์ ได้ร่วมเป็นเจ้าภาพในงานสวดพระอภิธรรมศพ คุณนิจกาล พหลพลพยุหเสนา ภรรยาของพันตรีพุทธินาถ บุตรชายของพระยาพหลพลพยุหเสนา ณ วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร ศาลาจีรวัสส์ รัชนิบูล 
Subscribe to พระยาพหลพลพยุหเสนา