ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ปรีดี พนมยงค์

ศิลปะ-วัฒนธรรม
5
พฤศจิกายน
2566
“แสงสัจจา” [Sang Sajja] ละครร้องแบบไทยสร้างใหม่ ทำการแสดงโดย กลุ่มละครอนัตตา Anatta Theatre เขียนบทและกำกับโดย ประดิษฐ ประสาททอง หนึ่งในสามผู้ร่วมก่อตั้งกลุ่มละครอนัตตาและ ศิลปินศิลปาธรสาขาศิลปะการแสดงคนแรก
บทบาท-ผลงาน
1
พฤศจิกายน
2566
คลี่คลายปมความสงสัยเรื่องจุดยืนและความคิดทางการเมืองของนายปรีดีที่ได้ระบุไว้ในบทสัมภาษณ์เรื่อง “Pridi Through a looking glass” ว่าปรัชญาการเมืองของท่านคือ “สังคมนิยมวิทยาศาสตร์ประชาธิปไตย”
แนวคิด-ปรัชญา
28
ตุลาคม
2566
ความจำเป็นของการปฏิรูปประกันสังคมและกองทุนประกันสังคม ในฐานะกองทุนขนาดใหญ่ที่ถือครองเม็ดเงินจำนวนมหาศาลในขณะเดียวกันก็ดูแลคนจำนวนกว่า 24 ล้านคนทั่วประเทศที่ปัจจุบันยังคงปรากฏข้อบกพร่องในหลากหลายด้าน
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
ตุลาคม
2566
“ตำนาน.........รัฐธรรมนูญ” แสดงความคิดเห็นและวิพากษ์วิจารณ์ต่อรัฐธรรมนูญ ดังที่ปรากฏในหนังสือเนื่องในวันปรีดี พนมยงค์ 11 พฤษภาคม 2534 อันเป็นการรำลึกถึงคุณูปการที่คณะราษฎรได้สร้างไว้ ในขณะเดียวกัน ก็ชี้ให้เห็นถึงความด่างพร่อยของรัฐธรรมนูญ ณ ขณะนั้น
แนวคิด-ปรัชญา
27
ตุลาคม
2566
การแก้ไขปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมไทย ด้วยการรื้อถอนมรดกและผลพวงจากเผด็จการอำนาจนิยมของทหารที่ครอบงำการเมืองไทยมาตลอดหลายสิบปี สืบเนื่องมาตั้งแต่รัฐประหารปี 2490 ด้วยการสนับสนุนต่อการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่จำเป็นต้องยึดโยงกับประชาชนจึงเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นในห้วงเวลานี้
แนวคิด-ปรัชญา
26
ตุลาคม
2566
การถือลำดับชั้นทางสังคมไม่เคยปรากฏขึ้นว่ามีในสังคมปฐมสหการ แต่เมื่อสังคมทาส ศักดินา หรือธนานุภาพ (ระบบทุน) เกิดขึ้นมา คำเรียกและลำดับชั้นเหล่านี้ก็ล้วนจำต้องปรากฏออกมา และสัมพันธ์กับการถือครองปัจจัยการผลิต
บทบาท-ผลงาน
25
ตุลาคม
2566
รวบรวมผลงานเขียนของนายปรีดี พนมยงค์ที่สะท้อนให้เห็นถึงทัศนะและความคิดทางการเมืองของนายปรีดี ในช่วงทศวรรษ 2510 และเจาะไปถึงปัญหาความแตกต่าง ทั้งหลักการ ความคิด การเคลื่อนไหว และจุดตั้งต้นระหว่าง “คอมมิวนิสต์และสังคมนิยม”
แนวคิด-ปรัชญา
17
ตุลาคม
2566
พลวัตของฝ่ายเผด็จการว่ามีลักษณะและการแปรเปลี่ยนรูปแบบไปของเผด็จการอย่างไร ในช่วงอภิวัฒน์ฝรั่งเศสของกษัตริย์หรือชนชั้นเจ้าศักดินา และการเกิดขึ้นมาใหม่ของชนชั้นเจ้าสมบัติหรือนายทุนสมัยใหม่ที่เติบโตไปพร้อมกับโครงสร้างทุนนิยมที่ขยายใหญ่ขึ้น
16
ตุลาคม
2566
เรื่องราวเกี่ยวกับ รัฐบุรุษอาวุโส คนแรกและคนเดียวในประเทศไทย กับราชบัลลังก์กษัตริย์ ผู้เขียน พยายามจะชี้ให้เห็นว่า คนอย่างอาจารย์ปรีดีนั้น ควรจัดอยู่ในประเภทคนที่ปกป้องสถาบัน คือคนที่คิดล้มล้างสถาบันกันแน่ หนังสือชุดนี้ตีพิมพ์ระหว่างปี 2517-2519 รวบรวมจัดพิมพ์โดย สุพจน์ ด่านตระกูล
บทสัมภาษณ์
15
ตุลาคม
2566
การหายไปของอนุสาวรีย์ปราบกบฏและมรดกคณะราษฎรชิ้นอื่นๆ นั้น สะท้อนถึงนัยทางการเมืองของการรื้อถอนอดีต ความทรงจำชุดหนึ่งไม่เป็นที่ต้องการของภาครัฐหรือไม่ก็ไม่เป็นที่ต้องการของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
Subscribe to ปรีดี พนมยงค์