ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ศิลปะ-วัฒนธรรม

ศิลปะและวัฒนธรรม

ศิลปะ-วัฒนธรรม
26
กรกฎาคม
2563
  ปรีดี พนมยงค์ ชื่อท่านคง ในดวงใจ ประชาชน ทั่วเขตไทย มิมีใคร ลืมปรีดี ท้าวความ ตามประวัติ รู้แน่ชัด ท่านผู้นี้ กอบกู้ ศักดิ์และศรี ทูลขอมี รัฐธรรมนูญ ใครว่า คนทําดี ย่อมได้ดี มาเกื้อกูล แม้ชนยกย่อง เทิดทูน ได้รัฐธรรมนูญ แล้วกลับไม่อินัง โศกเอย ท่านคงโศกเศร้า ปวดใจร้าว แทบภินท์พัง ห่วงไทย ด้วยความหวัง เชิดชูตรา ค่าของคน จิตใจ ท่านดั่งเพชร มิขามเข็ด ต่อเล่ห์คน ปรีดี ยังเวียนวน สะกิดใจ ไทยทั้งเมือง   *วรรณา สวัสดิ์ศรี เขียนเมื่อปี 2527
ศิลปะ-วัฒนธรรม
25
กรกฎาคม
2563
ลมเอยช่วยพัดสายธาร พาเอาอังคาร กระจายความคิดอ่านกว้างไกล ลอยไปโอบเอื้อเพื่อไทย เกิดคลื่นลูกใหม่ เกิดความคิด กล้าทํา ให้กล้าเปลี่ยนแปลงกล้านํา กล้าสู้อธรรม เฉกเช่นบรรพบุรุษไทย ขอท่านคุ้มครองป้องภัย ให้ลูกหลานไทย ก้าวเดินจําเริญรอยตาม
ศิลปะ-วัฒนธรรม
13
กรกฎาคม
2563
เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล นายกสโมสรนิสิตคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เล่าเรื่อง "ปรีดี พนมยงค์" ในฐานะผู้สร้างแรงบันดาลใจให้เขา ตั้งแต่สมัยเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และการลงมือทำ #จุลสารปรีดี เพื่อเผยแพร่เรื่องราวของรัฐบุรุษอาวุโส และสัจจะทางประวัติศาสตร์
ศิลปะ-วัฒนธรรม
12
กรกฎาคม
2563
หากโลกนี้มีธรรมเป็นอำนาจ ประชาชาติช่วงโชติปราโมทย์สมัย บรรสานสุขยุคมหาประชาธิปไตย ประชาไทยคงเป็นไททั่วหน้ากัน . "นาม ปรีดี พนมยงค์ ธิรงสถิตย์ แบบฉบับผู้อุทิศชีวิตมั่น สู้เพื่อชาติเอกราชเทิดคุณธรรม์ เป็นมิ่งขวัญมวลมหาประชาชน
ศิลปะ-วัฒนธรรม
30
มิถุนายน
2563
ปรีดีคีตานุสรณ์เป็นผลงานประพันธ์ทางดนตรีของสมเถา สุจริตกุล ประพันธ์ขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์ในวาระครบรอบ 100 ปีแห่งชาตกาลของนายปรีดี พนมยงค์ ผู้ซึ่งทางองค์การยูเนสโก สหประชาชาติ ประกาศยกย่องให้เป็นบุคคลสําคัญของโลกในปี ค.ศ. 2000  วงดุริยางค์ซิมโฟนีกรุงเทพฯ ได้นํา “ปรีดีคีตานุสรณ์” ออกแสดงเป็นรอบปฐมทัศน์ที่กรุงเทพฯ ในวันที่ 9 พฤษภาคม ค.ศ. 2000 โดย สมเถา สุจริตกุล ผู้ประพันธ์ได้ทําหน้าที่เป็นผู้อํานวยเพลง ซึ่งได้รับความสําเร็จอย่างงดงาม
ศิลปะ-วัฒนธรรม
21
มิถุนายน
2563
ความเป็นไม้เบื่อไม้เมาระหว่างรัฐบาลพระยามโนปกรณ์นิติธาดากับหนังสือพิมพ์สิ้นสุดลง เมื่อพระยาพหลพลพยุหเสนาได้ทํารัฐประหารยึดอํานาจจากรัฐบาลพระยามโนปกรณ์นิติธาดา เมื่อ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476 หนังสือพิมพ์ได้ให้ความสนับสนุนคณะรัฐประหารเป็นอย่างดี และแสดงความหวังเป็นอย่างมากว่า รัฐบาลชุดใหม่คงจะได้ตระหนักถึงสถานะและปัญหาของการดําเนินทุนหนังสือพิมพ์ ในฐานะสื่อมวลชนในสังคมประชาธิปไตยมากกว่ารัฐบาลชุดที่แล้ว
ศิลปะ-วัฒนธรรม
14
มิถุนายน
2563
สาเหตุของความแตกแยกภายในคณะราษฎร มีพื้นฐานสืบเนื่องมาจากความแตกต่างในอุดมการณ์ทางการเมืองของบุคคลชั้นหัวหน้าในคณะราษฎรเป็นสําคัญ  การรวมตัวกันของคณะราษฎรเป็นที่น่าสังเกตว่า ประกอบด้วยบุคคลซึ่งมีแนวความคิดต่างกันอยู่มาก แต่เท่าที่สามารถรวมกลุ่มกันได้ในระยะแรก เป็นเพราะบุคคลเหล่านี้มีจุดมุ่งหมายร่วมกันอยู่ คือ ความต้องการยึดอํานาจจากชนชั้นปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ เพื่อสถาปนารัฐบาลชุดใหม่ภายใต้ระบอบประชาธิปไตย
ศิลปะ-วัฒนธรรม
7
มิถุนายน
2563
ที่มา: เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์  
ศิลปะ-วัฒนธรรม
26
พฤษภาคม
2563
ความเงียบเหงาและว้าเหว่จู่โจมเข้ามาจับหัวใจ เมื่อความร้อนจัดแผดเผาอยู่ ณ ที่แห่งหนึ่งไกลแสนไกล ห่างออกไปตามความยาวของเวลา 6 ชั่วโมง แต่สามารถรู้สึกได้จากกระแสคลื่นร้อนที่แผ่กระจายเป็นวงกว้าง ระยิบระยับเป็นพยับเหมือนเปลวแดดที่กระพือเหนือปฐพี น้ำค้างบนกลีบดอกไม้ระเหยหายในความกรนเกรียม แปรแปลงไปเอ่อในดวงตาที่หม่นหมอง อินทรีย์ที่มีสมองและสองแขนสลายสภาพ….
ศิลปะ-วัฒนธรรม
11
พฤษภาคม
2563
ซิมโฟนีหมายเลข 4 หรือ “ปรีดีคีตานุสรณ์” เป็นผลงานของ สมเถา สุจริตกุล วาทยากรและนักประพันธ์เพลงคลาสสิกชาวไทย เพื่อร่วมฉลองในวาระครบรอบ 100 ปีชาตกาล รัฐบุรุษอาวุโส ปรีดี พนมยงค์ วันที่ 11 พฤษภาคม 2543
Subscribe to ศิลปะ-วัฒนธรรม