ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

รัฐธรรมนูญ

แนวคิด-ปรัชญา
13
มิถุนายน
2566
นโยบายเพื่อประชาชนอาจต้องคำนึงถึงความชะงักงัน หากในกรณีมีการร้องเรียนต่อศาลรัฐธรรมนูญ และศาลอาจออกคำวินิจฉัยที่เป็นอุปสรรคต่อการดำเนินนโยบาย ผู้เขียนชี้ให้เห็นถึงกรณีศึกษาบางเรื่องผ่านคำวินิจฉัยในอดีตที่ผ่านมาเพื่อถอดบทเรียน เตรียมรับมือ และป้องกันช่องว่างทางกฎหมายที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต
บทบาท-ผลงาน
11
พฤษภาคม
2566
นายปรีดี พนมยงค์ ตั้งข้อสังเกตเรื่องการแก้ไขรัฐธรรมนูญและการเลือกตั้งในระบอบประชาธิปไตย
บทบาท-ผลงาน
9
พฤษภาคม
2566
ดร.ไสว สุทธิพิทักษ์ บันทึกเรื่องราวบอกเล่ารัฐพิธีพระราชทานรัฐธรรมนูญ ฉบับปี พ.ศ. 2489 พร้อมทั้งรายละเอียดบทบัญญัติสำคัญของรัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าว ซึ่งถือเป็นรัฐธรรมนูญที่มีความเป็นประชาธิปไตยมากที่สุดฉบับหนึ่ง นับตั้งแต่ภายหลังการอภิวัฒน์สยาม 2475
บทบาท-ผลงาน
9
พฤษภาคม
2566
“รัฐธรรมนูญของหลายประเทศนั้นให้บัญญัติข้อความที่เป็นหลักสำคัญว่าด้วยระบบการเมืองประชาธิปไตย อันเป็นโครงเบื้องบนของสังคม และสิทธิกับหน้าที่ประชาธิปไตยของพลเมืองให้ครบถ้วนสมบูรณ์โดยเขียนอย่างกะทัดรัดเพื่อเป็นแม่บทของกฎหมายทั้งหลาย มิใช่เขียนฟุ่มเฟือยเป็นระเบียบปลีกย่อยเสียเอง” 
วันนี้ในอดีต
9
พฤษภาคม
2566
พระราชพิธีพระราชทานรัฐธรรมนูญ โดย นายปรีดี พนมยงค์ นายกรัฐมนตรี นำรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489 ขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล เพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย​  
แนวคิด-ปรัชญา
25
เมษายน
2566
กรณีศึกษาการฟ้องร้องกรณี "ค่าไฟแพง" ผ่านกระบวนการต่อสู้คดี เพื่อค้นหาคำตอบต่อประเด็นค่าไฟฟ้าที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น อันเนื่องมาจากปัจจัยในการประกอบกิจการบริหารงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ และเอกชนซึ่งมีส่วนร่วมกันอย่างไม่อาจแยกออกจากกันได้ อันนำไปสู่การต้องแบกรับภาระค่าใช้จ่ายที่มากขึ้นของประชาชน
แนวคิด-ปรัชญา
7
เมษายน
2566
ก่อนการเลือกตั้งทั่วไปจะมาถึงในวันที่ 14 พฤษภาคมนี้ บทความนี้ชวนผู้อ่านสำรวจรูปแบบและวิธีการเลือกตั้งในประวัติศาสตร์การเมืองไทย นับตั้งแต่แรกเริ่มสถาปนาระบอบประชาธิปไตย เรื่อยมาจนถึงการเลือกครั้งล่าสุดในปี 2562
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
เมษายน
2566
ชวนอ่านกลวิธีที่นำไปสู่การรัฐประหารครั้งแรกของไทย โดย 'พระยามโนปกรณ์นิติธาดา' โดยอาศัยช่องว่างในขณะที่ "เค้าโครงการเศรษฐกิจ" ข้อเสนอโดย 'นายปรีดี พนมยงค์' ซึ่งอยู่ในขั้นตอนการทบทวนพิจารณาเชิงหลักการและฐานความคิดต่อที่ประชุมคณะรัฐมนตรี
แนวคิด-ปรัชญา
29
มีนาคม
2566
135 ปี ชาตกาล พระยาพหลพลพยุหเสนา กับคำปราศรัยที่ได้แสดงไว้ต่อปวงชน เมื่อคราวระบอบประชาธิปไตยปักหลักลงรากสู่แผ่นดินสยามได้ครบเป็นปีที่ 4 เรื่อง "การปกครองระบอบรัฐธรรมนูญ"
แนวคิด-ปรัชญา
14
มีนาคม
2566
ปัญหาการเกิดขึ้นของ "นายกฯ คนนอก" ด้วยกระบวนการที่เปิดประตูให้แก่บุคคลนอกระบอบเล็ดลอดเข้ามามีอำนาจโดยไม่ผ่านกลไกด้วยระบอบประชาธิปไตย ปัญหาดังกล่าวถูกปิดตายด้วยรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน ฉบับ 2540 กระทั่งปัญหาดังกล่าวบังเกิดอีกครั้งภายหลังการแทรกแซงทางการเมืองเมื่อปี พ.ศ. 2557 ในรัฐธรรมนูญสืบทอดอำนาจ ฉบับ 2560
Subscribe to รัฐธรรมนูญ