ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

รัฐธรรมนูญ 2489

บทบาท-ผลงาน
19
ธันวาคม
2563
นายวิเชียร เพ่งพิศ ยกคำอธิบายของนายปรีดี พนมยงค์ ในหนังสือ 'คำอธิบายกฎหมายปกครอง' ซึ่งเขียนไว้ตั้งแต่ก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครอง มาอธิบายความเป็นไปในการร่างรัฐธรรมนูญที่นายปรีดีมีส่วนเกี่ยวข้อง
บทบาท-ผลงาน
9
ธันวาคม
2563
กลไกการเมืองที่เป็นประชาธิปไตย ในรัฐธรรมนูญอุดมคติของปรีดี สะท้อนผ่าน (1) การได้มาซึ่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาต้องมีความเป็นประชาธิปไตย (2) การแยกข้าราชการประจำออกจากฝ่ายการเมือง (3) นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีต้องเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และ (4) การมีองค์กรตรวจสอบที่มีความเป็นอิสระและเป็นกลาง
บทบาท-ผลงาน
8
พฤศจิกายน
2563
รัฐประหาร 8 พฤศจิกายน 2490 ได้ยุติบทบาททางการเมืองในประเทศไทยของนายปรีดี พนมยงค์ โดยสิ้นเชิง และตามมาด้วยความพยายามของฝ่ายที่เป็นปรปักษ์ในทุกวิถีทางที่จะทำลายล้างท่านรัฐบุรุษอาวุโสอย่างที่ไม่เคยมีบุคคลใดเคยประสบมาแต่ก่อน
บทบาท-ผลงาน
6
พฤศจิกายน
2563
รัฐประหาร 8 พฤศจิกายน 2490 นํามาซึ่งความชะงักงันของระบอบประชาธิปไตยของไทยที่ได้มีความพยายามที่จะผลักดันให้เกิดขึ้นในสมัยหลังสงครามโลก
บทบาท-ผลงาน
4
พฤศจิกายน
2563
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 มีความพยายามที่จะสถาปนาลัทธิรัฐธรรมนูญขึ้นใหม่ ให้มีความเป็นประชาธิปไตยมากยิ่งขึ้น จึงเกิดเป็น "รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489" อันเป็นฉบับที่ได้ชื่อว่า "เป็นฉบับนายปรีดี พนมยงค์" ซึ่งเป็นฉบับที่มีความเป็นประชาธิปไตยมากกว่าฉบับใด ๆ ที่เคยมีมา
บทสัมภาษณ์
22
ตุลาคม
2563
ในวัย 80 ปี (พ.ศ. 2523) นายปรีดี พนมยงค์ ได้ให้สัมภาษณ์กองบรรณาธิการ นสพ. ตะวันใหม่ ต่อคำถามที่ว่า “จุดอ่อนของการอภิวัฒน์ประชาธิปไตยเมื่อปี 2475 คืออะไร
แนวคิด-ปรัชญา
21
ตุลาคม
2563
ในปี 2517 นายปรีดี พนมยงค์ ได้สรุปหลักการร่างรัฐธรรมนูญไว้ 2 ประการ
แนวคิด-ปรัชญา
20
ตุลาคม
2563
ในปี 2517 นายปรีดี พนมยงค์ ได้เขียนบทความอธิบายความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ ตั้งแต่ความหมาย การมีรัฐธรรมนูญกับการมีระบอบประชาธิปไตย และประเภทของรัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษรกับธรรมเนียมประเพณีทางรัฐธรรมนูญ
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
ตุลาคม
2563
นายปรีดี พนมยงค์ อธิบายความเป็นมา ความหมายของประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญ รวมไปถึงองค์ประกอบทางสังคมของมนุษย์ซึ่งสัมพันธ์ต่อการก่อร่างระบอบประชาธิปไตย นอกจากนี้นายปรีดียังได้ขยายความการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน อีกทั้งพิจารณาความสำคัญของหลักการการปกครองของระบอบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา
แนวคิด-ปรัชญา
1
ตุลาคม
2563
ชวนหาคำตอบจากบทความของ วิเชียร เพ่งพิศ ที่สำรวจความคิดและทัศนะของนายปรีดี พนมยงค์ เรื่องระบบรัฐสภาของไทย และการได้มาซึ่งสมาชิกรัฐสภา
Subscribe to รัฐธรรมนูญ 2489