ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

รัชกาลที่ 7

เกร็ดประวัติศาสตร์
2
เมษายน
2567
เอกสารการปกครองสมัยรัชกาลที่ 7 แม้จะเรียกว่า "รัฐธรรมนูญ" แต่มุ่งเน้นการรวมอำนาจไว้ที่พระมหากษัตริย์และชนชั้นสูง สะท้อนลักษณะการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มากกว่าระบอบประชาธิปไตย การศึกษาเอกสารอย่างละเอียดจะทำให้เข้าใจบริบททางประวัติศาสตร์ในช่วงเปลี่ยนผ่านได้ดียิ่งขึ้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
29
มีนาคม
2567
ความสัมพันธ์พระยาพหลฯกับพระปกเกล้าฯ เริ่มด้วยความร่วมมือแต่กลายเป็นขัดแย้ง เนื่องจากพระองค์ทรงมีความกังวลต่อระบอบประชาธิปไตย มีข้อสงสัยบ่งชี้ว่าทรงรู้เห็นกบฏบวรเดช ก่อนเสด็จออกประเทศและสละราชสมบัติ สะท้อนความตึงเครียดจากการเปลี่ยนผ่านการปกครอง
เกร็ดประวัติศาสตร์
20
ตุลาคม
2566
กวินพร เจริญศรี นำเรื่องราว ปาฐกถา บทเพลง และบทสนทนาที่เกิดขึ้นภายในงาน “เจ้าฝันถึงโลกสีใด” 14 ตุลา จิตวิญญาณประชาธิปไตย เนื่องในวาระ 50 ปี 14 ตุลา โดยเรียบเรียงออกมาสู่ผู้อ่านอีกครั้งในรูปแบบบทความถึงบรรยากาศ ประเด็น และเนื้อหาสำคัญที่สมควรเน้นย้ำในฐานะของการรำลึก “50 ปี 14 ตุลา”
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
สิงหาคม
2566
ชีวประวัติย่อของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ตลอดจนช่วงชีวิตในอังกฤษระหว่างที่สงครามโลกครั้งที่ 2 พร้อมทั้งบทบาทของพระองค์ในฐานะผู้สนับสนุนกิจการเสรีไทยสายอังกฤษในด้านต่างๆ อีกทั้งชีวิตในบั้นปลายของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี ในช่วงทศวรรษที่ 2490 รวมไปถึงความสัมพันธ์ที่แนบแน่นระหว่างพระองค์ กับ ครอบครัวปรีดี - พูนศุข พนมยงค์
แนวคิด-ปรัชญา
1
สิงหาคม
2566
ย้อนรอยประวัติศาสตร์เรื่องการแสวงหาบทบาทให้กับสถาบันกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญในรัชสมัยของรัชกาลที่ 8 ช่วงระหว่างปี 2478-2487 ว่าสถาบันกษัตริย์และสถาบันการเมืองในช่วงเวลานั้น มีส่วนในการแสวงหาบทบาทของสถาบันกษัตริย์ใต้ระบอบรัฐธรรมนูญเช่นไร
แนวคิด-ปรัชญา
29
มิถุนายน
2566
ชวนพิจารณา 4 ประเด็น ได้แก่ อำนาจเก่า ผลประโยชน์ แรงสนับสนุน และการสืบต่อสายธารประชาธิปไตย ปัจจัยทั้งสี่สะท้อนชีวิตของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ นับตั้งแต่ก่อนการอภิวัฒน์จนส่งผ่านมาถึงปัจจุบัน
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
มิถุนายน
2566
เรื่องราวการเปิดประชุมสภาครั้งแรกในหน้าประวัติศาสตร์การเมืองไทย เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2475 ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม ภายใต้ระบอบใหม่นี้เองฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติบัญญัติดำเนินการนโยบายต่างๆ ผ่านสภาผู้แทนราษฎร เพื่อทำหน้าที่ใช้สิทธิออกเสียงแทนประชาชนทั่วประเทศ
แนวคิด-ปรัชญา
24
มิถุนายน
2566
อ่านที่มาของการตั้งชื่อของ “คณะราษฎร” ผ่านคำบอกเล่าของนายปรีดี พนมยงค์ เหตุการณ์อภิวัฒน์สยาม เมื่อ 24 มิถุนายน 2475 ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณญาสิทธิราชย์สู่ระบอบประชาธิปไตยอันมีกษัตริย์อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ
บทบาท-ผลงาน
24
มิถุนายน
2566
นายปรีดี พนมยงค์ ชี้แจงถึงมูลเหตุ จุดเริ่มต้นของการอภิวัฒน์ 2475 ว่าคณะราษฎรไม่ใช่คนกลุ่มแรกที่มีความคิดเปลี่ยนแปลงการปกครองในสยาม หากแต่เป็นพัฒนาการต่อเนื่องจากเหตุการณ์ ร.ศ. 103 ในสมัยรัชกาลที่ 5 และ ร.ศ. 130 ในสมัยรัชกาลที่ 6 และยังกล่าวถึงการสละราชสมบัติของรัชกาลที่ 7 กับคณะราษฎร
แนวคิด-ปรัชญา
23
มิถุนายน
2566
นายปรีดี พนมยงค์ กล่าวอารัมภบทถึงการอภิวัฒน์ 2475 ว่า “สังคมมนุษย์รวมทั้งสังคมไทยด้วยนั้น จะคงอยู่ได้ก็ต้องอาศัยสัจจะ” ดังนั้น เราควรศึกษาประวัติศาสตร์จากเอกสารแท้จริง (Authentic Document) ไม่ใช่จากนิยายอิงประวัติศาสตร์ พร้อมยกตัวอย่างเอกสารบิดเบือนต่างๆ
Subscribe to รัชกาลที่ 7