ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

แล ดิลกวิทยรัตน์

แนวคิด-ปรัชญา
14
พฤศจิกายน
2566
นำเสนอถึงปัญหาเศรษฐกิจไทยภายหลังการอภิวัฒน์ 2475 จากบทสัมภาษณ์ศาสตราภิชาน แล ได้กล่าวไว้ 3 เรื่องสำคัญ พร้อมกับผูกประเด็นเหล่านั้นกับแนวคิดและข้อเสนอของ ผศ.ดร. ธร ปิติดล จากงานวิจัยชื่อ “แนวคิดและอุดมการณ์กับพัฒนาการระบบสวัสดิการไทย”
บทสัมภาษณ์
6
พฤศจิกายน
2566
ศาสตราภิชาน แล ดิลกวิทยรัตน์ ผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐศาสตร์แรงงาน ประจำจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวถึงประเด็นด้านแรงงานนับตั้งแต่รากฐานทางเศรษฐกิจภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 จนถึงประเด็นด้านขบวนการแรงงานรวมถึงหลักประกันทางกฎหมายของแรงงานไทยที่ผกผันไปตามพลวัตของประวัติศาสตร์เศรษฐศาสตร์การเมืองไทย
บทบาท-ผลงาน
13
พฤษภาคม
2566
ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ปรีชา สุวรรณทัต อภิปรายและแสดงทัศนะต่อนายปรีดี พนมยงค์ ในฐานะผู้พลิกความคิดของสังคมไทย ไว้ ณ เรือนไทยหอประชุมภายในเขตอนุสรณ์สถานปรีดี พนมยงค์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อครั้งอัญเชิญอัฐิธาตุของ 'นายปรีดี พนมยงค์' กลับสู่มาตุภูมิ เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2529
บทบาท-ผลงาน
12
พฤษภาคม
2566
ธรรมเกียรติ กันอริ อภิปรายทรรศนะแห่งประชาธิปไตยของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ไว้ ณ เรือนไทยหอประชุมภายในเขตอนุสรณ์สถานปรีดี พนมยงค์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อครั้งอัญเชิญอัฐิธาตุของ 'นายปรีดี พนมยงค์' กลับสู่มาตุภูมิ เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2529
แนวคิด-ปรัชญา
10
พฤษภาคม
2566
ศาสตราภิชาน แล ดิลกวิทยรัตน์ ได้แสดงทรรศนะในการอภิปรายเรื่อง "ปรีดี พนมยงค์ กับประชาธิปไตยไทย" ไว้ ณ เรือนไทยหอประชุมภายในเขตอนุสรณ์สถานปรีดี พนมยงค์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อครั้งอัญเชิญอัฐิธาตุของ 'นายปรีดี พนมยงค์' กลับสู่มาตุภูมิ เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2529
แนวคิด-ปรัชญา
1
กรกฎาคม
2564
ปฏิวัติ: การหมุนกลับ, อภิวัฒน์: การเปลี่ยนไปสู่สิ่งที่ดีกว่า
แนวคิด-ปรัชญา
30
มิถุนายน
2564
ปัญหาการแพร่ระบาดของ COVID-19 รวมทั้งปัญหาวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจนั้น ได้ทำให้ความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยเพิ่มมากขึ้น ซึ่งในวันนี้วิทยากรทั้งหลายที่จะมาร่วมเสวนาก็จะได้ร่วมกันมองว่า “เราจะฝ่าวิกฤตนี้ไปได้อย่างไร”
25
มิถุนายน
2564
สรุปประเด็นสำคัญจาก PRIDI Talks #11 “89 ปีแห่งการอภิวัฒน์สยาม: สวัสดิการและบทบาทของรัฐในการสร้างความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจแก่ประชาชน”
Subscribe to แล ดิลกวิทยรัตน์