ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สงวน ตุลารักษ์

เกร็ดประวัติศาสตร์
17
พฤศจิกายน
2566
กล่าวขานถึงขบวนการเสรีไทยสายแพร่ ผู้มีบทบาทสำคัญในหน้าประวัติศาสตร์เอกราชของไทย แต่มิได้ถูกจดจำและบันทึกไว้อย่างแพร่หลายนัก
เกร็ดประวัติศาสตร์
7
พฤศจิกายน
2566
เกร็ดทางประวัติศาสตร์เหตุใดจึงเรียกขานชื่อวิลาศ โอสถานนท์ว่า “เหล็กฝรั่งแห่งการเมืองไทย” “ลูกชายเจ้าเมือง” หรือชื่อที่ว่า “ลูกเขยนักหนังสือพิมพ์ชาวจีน” และปาฐกถาว่าด้วยภัยทางอากาศ ซึ่งร้อยเรียงผ่านเรื่องราวชีวิตของท่าน
เกร็ดประวัติศาสตร์
30
ตุลาคม
2566
เรื่องราวความเป็นนักเขียนและนักหนังสือพิมพ์ของจำกัด พลางกูร นับตั้งแต่อิทธิพลที่ส่งผลต่อความเป็นนักเขียนนักหนังสือพิมพ์ ความสัมพันธ์ระหว่างนักเขียนสำคัญกับจำกัด ความคิดความสนใจต่อประเด็นทางสังคม ผลงานชิ้นสำคัญ
บทบาท-ผลงาน
2
กันยายน
2566
รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ กล่าวถึงว่าตลอดระยะเวลาการดำเนินงานของขบวนการเสรีไทยเพื่อกอบกู้ชาติ จะพบเห็นการเสียสละและความยากลำบากของผู้ปฏิบัติการ ขณะเดียวกันก็ปรากฏความช่วยเหลือจากมิตรแท้และประชาชนเสมอมา
เกร็ดประวัติศาสตร์
16
สิงหาคม
2566
อาคารพิพิธภัณฑ์เสรีไทยอนุสรณ์ นับเป็นหนึ่งในอาคารที่มีความสำคัญกับสังคมไทยในฐานะสถานที่ซึ่งรวบรวมความทรงจำและบอกเล่าถึงความเป็นขบวนการเสรีไทยเพื่อการปลดปล่อยการยึดครองประเทศไทยของประเทศญี่ปุ่น และร่วมมือกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง
แนวคิด-ปรัชญา
10
สิงหาคม
2566
ความคิดเพียงว่า ขบวนการเสรีไทยเป็นขบวนการต่อสู้เพื่อปกป้องหรือรักษาเอกราช ได้บดบังสาระสำคัญที่ซ่อนอยู่บางประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุดมการณ์เพื่อสันติภาพ อธิปไตย และการฟื้นคืนประชาธิปไตย
บทบาท-ผลงาน
14
กรกฎาคม
2566
‘สุวัฒน์ วรดิลก’ เจ้าของนามปากกา ‘รพีพร’ คือ หนึ่งในนักคิด นักเขียน และนักหนังสือพิมพ์คนสำคัญ ผู้อาศัยผลงานเขียนของตนเป็นสื่อถ่ายทอดอุดมการณ์ประชาธิปไตยในสังคมไทย ซึ่งนอกจาก ‘สุวัฒน์’ จะมีชื่อเสียงในด้านงานเขียนต่างๆ แล้ว บุคคลผู้นี้ยังมีความสนิทชิดเชื้อกับ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ ด้วย
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
มิถุนายน
2566
เรื่องราวของ นายสงวน ตุลารักษ์ ในช่วงหลังการอภิวัฒน์สยาม 2475 ในฐานะสมาชิกคณะราษฎรปีกซ้ายซึ่งมีแนวคิดสังคมนิยม ทว่ากลับต้องเผชิญกับวิบากกรรมทางการเมืองด้วยข้อกล่าวหากระทำการอันเป็นคอมมิวนิสต์ เนื่องด้วยการเผยแพร่แนวคิดแบบสังคมนิยม
เกร็ดประวัติศาสตร์
26
กุมภาพันธ์
2566
อ่านบันทึกประวัติศาสตร์ของขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์ ผ่านผ่านบันทึกความทรงจำของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ซึ่งแสดงให้เห็นลำดับเหตุการณ์ก่อน-หลัง เหตุแห่งการเกิด และหลักฐานเชิงประจักษ์ อันนำไปสู่การตอบโต้รัฐประหาร 2490 และทวงคืนระบอบประชาธิปไตยสมบูรณ์ให้แก่สังคมไทย
4
กุมภาพันธ์
2566
ค่ำวานนี้ (3 กุมภาพันธ์ 2566) มูลนิธิปรีดี พนมยงค์ ได้ร่วมเป็นเจ้าภาพในงานสวดพระอภิธรรม คุณไกรศรี ตุลารักษ์ ณ ศาลา 9 (วรรณ-สุพิน) วัดธาตุทอง
Subscribe to สงวน ตุลารักษ์