ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

พระเจ้าช้างเผือก

บทบาท-ผลงาน
11
พฤษภาคม
2567
15 ผลงานสำคัญของนายปรีดี พนมยงค์ ในการเมืองไทยช่วง 15 ปี ระหว่าง พ.ศ. 2475-2490 โดยเป็นผู้นำสายพลเรือนก่อการอภิวัฒน์ 24 มิถุนายน 2475 เป็นผู้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับแรกของสยาม เสนอเค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ จัดตั้งเทศบาลทั่วประเทศ ก่อตั้งมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง เจรจาแก้ไขสนธิสัญญาที่ไม่เสมอภาค ทำให้ไทยได้รับเอกราชอธิปไตยสมบูรณ์ ปรับปรุงภาษี และสถาปนาประมวลรัษฎากรขึ้นเป็นครั้งแรก ก่อตั้งธนาคารชาติ สร้างภาพยนตร์พระเจ้าช้างเผือก แนวคิดการจัดตั้ง “องค์กรสันนิบาตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” ซื้อทองคำเพื่อป้องกันชาติ จัดตั้งขบวนการเสรีไทย ทำให้ไทยรอดพ้นจากการเป็นผู้แพ้สงคราม ดำรงตำแหน่งรัฐบุรุษอาวุโส ร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับ 2489 และดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
บทสัมภาษณ์
4
เมษายน
2567
PRIDI Interview ไอรีน นิตยวรรธนะ : นางเอกพระเจ้าช้างเผือก หนังไทยแห่งสันติภาพ ในบทสัมภาษณ์นี้พาไปพูดคุยกับคุณไอรีนถึงความทรงจำที่ได้ร่วมแสดงภาพยนตร์พระเจ้าช้างเผือก รวมถึงความประทับใจที่ดีต่ออาจารย์ปรีดีและท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์
บทสัมภาษณ์
23
มีนาคม
2567
PRIDI Interview อาจารย์สรรเสริญ ไกรจิตติ นักเรียนโรงเรียนเตรียมปริญญามหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง (ต.ม.ธ.ก.) รุ่นที่ 4 ได้เล่าถึงประสบการณ์และความทรงจำช่วงวัยเรียนในสมัยนั้น นอกจากนั้นวัยเรียนยังได้ร่วมแสดงละครภาพยนตร์ "พระเจ้าช้างเผือก" ที่อาจารย์ปรีดีเป็นผู้กำกับ
บทบาท-ผลงาน
2
กันยายน
2566
รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ กล่าวถึงว่าตลอดระยะเวลาการดำเนินงานของขบวนการเสรีไทยเพื่อกอบกู้ชาติ จะพบเห็นการเสียสละและความยากลำบากของผู้ปฏิบัติการ ขณะเดียวกันก็ปรากฏความช่วยเหลือจากมิตรแท้และประชาชนเสมอมา
24
สิงหาคม
2566
ประเทศไทยจำเป็นต้องแสดงบทบาท เป็นผู้สร้างสรรค์เพื่อความก้าวหน้าต่อการสร้างสันติธรรมประชาธิปไตยให้นานาประเทศสามารถยึดถือเป็นแบบอย่าง โดย ‘รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ’ ได้เสนอแบบอย่างที่ประเทศไทยสมควรกระทำทั้งสิ้น 8 ประการ
เกร็ดประวัติศาสตร์
16
สิงหาคม
2566
อาคารพิพิธภัณฑ์เสรีไทยอนุสรณ์ นับเป็นหนึ่งในอาคารที่มีความสำคัญกับสังคมไทยในฐานะสถานที่ซึ่งรวบรวมความทรงจำและบอกเล่าถึงความเป็นขบวนการเสรีไทยเพื่อการปลดปล่อยการยึดครองประเทศไทยของประเทศญี่ปุ่น และร่วมมือกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง
บทบาท-ผลงาน
4
เมษายน
2566
อ่านใจความของมรดกแห่งยุคสมัยจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ในภาพยนตร์ "The King of The White Elephant" หรือ "พระเจ้าช้างเผือก" อีกหนึ่งหลักฐานทางประวัติศาสตร์ซึ่งพิสูจน์แนวคิดทางการเมืองและสังคมของนายปรีดีในวันที่สันติภาพแห้งเหือดไปจากโลกใบนี้
ศิลปะ-วัฒนธรรม
26
มีนาคม
2566
กิจวัตรประจำวันของนายปรีดี พนมยงค์ กับความโปรดปรานในการรับชมภาพยนตร์แนวสารคดีประวัติศาสตร์ หากการรับชมนั้นนายปรีดียังได้ฝากทรรศนะวิจารณ์ไว้ได้อย่างแยบคาย โดยเฉพาะเมื่อนายปรีดีได้รับชมภาพยนตร์แนวบุกเบิกตะวันตก
แนวคิด-ปรัชญา
30
มกราคม
2566
เขมภัทร ทฤษฎิคุณ เขียนถึงบทบาทแนวคิดที่หลากมิติของ 'นายปรีดี พนมยงค์' สำหรับการทำงานเพื่อรับใช้สังคมอันเป็นเจตนารมณ์ที่ได้ต่อยอดทั้งในทางเศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม และสันติภาพ อันเป็นหลักการที่วางรากฐานและสร้างคุณค่าให้แก่ระบอบประชาธิปไตย โดยแก่หลักสำคัญได้แก่ "ปรัชญาสังคมนิยมวิทยาศาสตร์ประชาธิปไตย"
เกร็ดประวัติศาสตร์
26
สิงหาคม
2565
ผู้เขียนได้นำเสนอเรื่องราวของ "งานฉลองสันติภาพ" งานรื่นเริงที่ถูกจัดขึ้นภายหลังสงคราม ทั้งในกรุงเทพมหานครและต่างจังหวัด เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองสันติภาพที่กลับสู้มวลชนอีกครั้ง ซึ่งภายในงานมีมหรสพต่างๆ มากมายที่ส่งเสริมความรู้ให้ราษฎรไทยรู้จักความหมายและตระหนักถึงความสำคัญของสันติภาพ
Subscribe to พระเจ้าช้างเผือก